เนื้อหาที่ออกสอบ สำหรับการสอบ วิชาสามัญ ปีการศึกษา 2565
สำหรับน้องๆ ที่กำลังเตรียมสอบ มาเช็คข้อมูลกันหน่อยดีกว่าว่าการสอบ วิชาสามัญ นั้นมีเนื้อหาตรงไหนที่ออกสอบบ้าง โดยทาง ทปอ. ได้ออก โครงสร้างข้อสอบและตัวอย่างข้อสอบ มาให้เราไปเป็นแนวทางเพื่อเตรียมสอบกัน ถ้าใครพร้อมแล้ว ไปเช็ครายละเอียดกันเลยจ้า
วิชาสามัญ ภาษาไทย
เนื้อหา ออกสอบ
1) การอ่านเพื่อเข้าใจเนื้อหา
2) การจับใจความ / การสรุปสาระสำคัญของข้อความ
3) การตีความ
4) การวิเคราะห์จุดประสงค์ / เจตนาของผู้เขียน
5) การวิเคราะห์ข้อคิด / แนวคิดที่ได้จากการอ่าน
6) การอนุมานจากเนื้อหาของข้อความ ที่อ่าน
7) ท่าที / น้ำเสียง / อารมณ์ความรู้สึก /ความคิดเห็นของผู้เขียน
การเขียน
1) การเรียงลำดับข้อความ
2) การเรียงความ
3) การพรรณนา / บรรยาย / อธิบาย
4) การใช้เหตุผล
5) การแสดงทรรศนะ
6) การโต้แย้ง
7) การโน้มน้าว
การพูด การฟัง
1) การวิเคราะห์จุดประสงค์ในการพูด
2) การใช้ข้อความถาม และตอบที่สัมพันธ์กัน
3) การตีความ / อนุมาน / วิเคราะห์สาร / บุคลิกของผู้พูดหรือผู้ฟัง
หลักการใช้ภาษา
1) การสะกดคำ
2) การใช้คำตรงความหมาย
3) ประโยคกำกวม / ประโยคบกพร่อง
4) ประโยคสมบูรณ์
5) ระดับภาษา
6) การใช้สำนานถูกต้องตามความหมาย
7) ชนิดของประโยคตามเจตนา
8) คำที่มีความหมายตรง / อุปมา
9) คำทับศัพท์ภาษาอังกฤษ
10) ราชาศัพท์
.
วิชาสามัญ สังคมศึกษา
1) ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
1.1) ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนา ศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้องยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
1.2) การปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธำรงรักษาพระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาที่ตนนับถือ
2) หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม
2.1) หน้าที่ของการเป็นพลเมืองที่ดี มีค่านิยมที่ดีงาม การธำรงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย การดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและ สังคมโลกอย่างสันติสุข
2.2) การเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน การยึดมั่น ศรัทธา และธำรงรักษาไว้ซึ่งการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
3) เศรษฐศาสตร์3.1) บริหารจัดการทรัพยากรในการผลิต และการบริโภคใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจ พอเพียงเพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ
3.2) สถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและ ความจำเป็นของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
4) ประวัติศาสตร์
4.1) เวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ หลักฐานและวิธีการทางประวัติศาสตร์ วิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ
4.2) พัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ในทวีป เอเซีย ยุโรป แอฟริกา และอเมริกา
4.3) ชาติไทย การเมืองเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจ และความเป็นไทย
5) ภูมิศาสตร์
5.1) โลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกัน ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ในการค้นหาวิเคราะห์สรุปข้อมูลตามกระบวนการทางภูมิศาสตร์ตลอดจนใช้ภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
5.2) ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์วิถีการดาเนินชีวิตมีจิตสานึกและมีส่วนร่วม ในการจัดการทรัพยากรสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
.
วิชาสามัญ ภาษาอังกฤษ
Listening & Speaking Skills
Situation dialogues
Reading Skills
1) Graph/chart/diagram/table
2) Different Types of Texts
Writing Skills
1) Paragraph Completion
2) Paragraph Organization
.
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1
1) เซต
2) ตรรกศาสตร์
3) จำนวนจริงและพหุนาม
4) ฟังก์ชัน
5) ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
6) ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
7) จํานวนเชิงซ้อน
8) เมทริกซ์
9) ลําดับและอนุกรม
10) เรขาคณิตวิเคราะห์
11) เวกเตอร์ในสามมิติ
12) สถิติ
13) การแจกแจงความน่าจะเป็นเบื้องต้น
14) หลักการนับเบื้องต้น
15) ความน่าจะเป็น
16) แคลคูลัส
หมายเหตุ
1) ข้อสอบบางข้อมีการบูรณาการระหว่างเนื้อหา
2) ขอบเขตเนื้อหาของข้อสอบ สามารถศึกษาได้จากเอกสารตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
.
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2
1) เซต
2) ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
3) เลขยกกำลัง
4) ฟังก์ชัน
5) ลําดับและอนุกรม
6) ดอกเบี้ยและมูลค่าของเงิน
7) สถิติ
8) หลักการนับเบื้องต้น
9) ความน่าจะเป็น
.
วิชาสามัญ ฟิสิกส์
กลศาสตร์
1) ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสิกส์
2) การเคลื่อนที่แนวตรง
3) แรงและกฎการเคลื่อนที่
4) สมดุลกลของวัตถุ
5) งานและกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
6) โมเมนตัมและการชน
7) การเคลื่อนที่แนวโค้ง
8) การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกส์อย่างง่าย
คลื่นกลและแสง
9) คลื่น
10) เสียง
11) แสง
ไฟฟ้า แม่เหล็ก และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
12) ไฟฟ้าสถิต
13) ไฟฟ้ากระแส
14) แม่เหล็กและไฟฟ้า
15) คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
อุณหพลศาสตร์และสมบัติเชิงกลของสาร
16) ความร้อนและแก๊ส
17) ของแข็งและของไหล
ฟิสิกส์แผนใหม่
18) ฟิสิกส์อะตอม
19) ฟิสิกส์นิวเคลียร์และฟิสิกส์อนุภาค
.
วิชาสามัญ เคมี
สมบัติของธาตุและสารประกอบ
1) อะตอมและสมบัติของธาตุ
2) พันธะเคมี
3) แก๊ส
4) เคมีอินทรีย์
5) พอลิเมอร์
สมการเคมีและการเปลี่ยนแปลงทางเคมี
6) ปริมาณสัมพันธ์
7) อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
8) สมดุลเคมี
9) กรด–เบส
10) ไฟฟ้าเคมี
ทักษะในปฏิบัติการเคมีและการคำนวณปริมาณของสาร
11) ความปลอดภัยและทักษะในปฏิบัติการเคมี
12) โมล
13) สารละลาย
.
วิชาสามัญ ชีววิทยา
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
1) การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ
2) การหมุนเวียนสารในระบบนิเวศ
3) ความหลากหลายของไบโอมในเขตภูมิศาสตร์ต่าง ๆ ของโลก
4) การเปลี่ยนแปลงแทนที่ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
5) ประชากร
6) ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
7) โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
8) การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์
9) การหายใจระดับเซลล์
10) การแบ่งเซลล์
ระบบและการทำงานต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์
11) ระบบภูมิคุ้มกัน
12) ระบบย่อยอาหาร
13) ระบบหมุนเวียนเลือดและระบบน้ำเหลือง
14) ระบบขับถ่าย
15) ระบบหายใจ
16) ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
17) ระบบสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
18) ระบบต่อมไร้ท่อ
19) การเคลื่อนที่
20) พฤติกรรมของสัตว์
โครงสร้างและการทำงานของส่วนต่าง ๆ ในพืช
21) เนื้อเยื่อและโครงสร้างภายในของพืช
22) การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำของพืชและการลำเลียงของพืช
23) การสังเคราะห์ด้วยแสงและสารอินทรีย์ในพืช
24) การสืบพันธุ์ของพืชดอก
25) การควบคุมการเจริญเติบโตและการตอบสนองของพืช
พันธุกรรมและเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ
26) การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
27) สมบัติและหน้าที่สารพันธุกรรม
28) ความสัมพันธ์ระหว่างยีน การสังเคราะห์โปรตีนและลักษณะทางพันธุกรรม
29) การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม
30) เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ
วิวัฒนาการและความหลากหลายทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิต
31) การศึกษาและแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
32) พันธุศาสตร์ประชากร
33) ความหลากหลายทางชีวภาพ
34) อนุกรมวิธาน
.
วิชาสามัญ วิทยาศาสตร์ทั่วไป
วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
1) ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
2) การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์
3) การรักษาดุลยภาพของร่างกายมนุษย์
4) ระบบภูมิคุ้มกันของมนุษย์
5) การดำรงชีวิตของพืช
6) พันธุกรรมและวิวัฒนาการ
วิทยาศาสตร์กายภาพ
7) อะตอมและสมบัติของธาตุ
8) สารโคเวเลนต์
9) สารประกอบไอออนิก
10) สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
11) พอลิเมอร์
12) ปฏิกิริยาเคมี
13) สารกัมมันตรังสี
14) การเคลื่อนที่และแรง
15) แรงในธรรมชาติ
16) พลังงานทดแทน
17) คลื่นกล
18) เสียง
19) แสงสี
20) คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ
21) เอกภพและกาแล็กซี
22) ดาวฤกษ์
23) ระบบสุริยะ
24) เทคโนโลยีอวกาศ
25) โครงสร้างโลก
26) การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
27) ธรณีพิบัติภัย
28) การเกิดลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศ
29) การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
30) ข้อมูลสารสนเทศทางอุตุนิยมวิทยา
.
รายละเอียด ฉบับเต็ม และตัวอย่างข้อสอบ : blueprint.mytcas.com