สรุปเนื้อหาแบบเจาะลึกวิชา ชีววิทยา ม.ปลาย สำหรับเตรียมสอบ
วิชา ชีววิทยา ถือว่าเป็นหนึ่งในวิชาที่สำคัญในการสอบของน้องๆ สายวิทยาศาสตร์ เลยโดยในวิชานี้จะเน้นไปที่การอ่าน ใครไม่ชอบอ่านเนี่ย เหนื่อยหน่อยนะ สำหรับวิชานี้ โดยบทเรียนหลักๆ ที่จะเรียนในวิชานี้ ได้แก่
หน่วยวิชาที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางชีววิทยา
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
1.1 สิ่งมีชีวิตคืออะไร
1.2 ชีววิทยาคืออะไร
1.3 ชีววิทยากับการดำ รงชีวิต
1.4 ชีวจริยธรรม
บทที่ 2 การศึกษาชีววิทยา
2.1 การศึกษาชีววิทยา
2.2 กล้องจุลทรรศน์
บทที่ 3 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
3.1 สารอนินทรีย์
3.2 สารอินทรีย์
3.3 ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
4.1 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
4.2 โครงสร้างของเซลล์ที่ศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน
4.3 การรักษาดุลยภาพของเซลล์
4.4 การสื่อสารระหว่างเซลล์
4.5 การแบ่งเซลล์
4.6 การเปลี่ยนสภาพของเซลล์และการชราภาพของเซลล์
4.7 เนื้อเยื่อ อวัยวะและระบบของร่างกาย
หน่วยวิชาที่ 2 การรักษาดุลยภาพของร่างกายมนุษย์และสัตว์
บทที่ 5 ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
5.1 อาหารและการย่อยอาหาร
5.2 การสลายสารอาหารระดับเซลล์
บทเรียนชีววิทยา ม.4 เทอม 2
บทที่ 6 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
6.1 ระบบหายใจกับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
6.2 ระบบขับถ่ายกับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
6.3 ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบนํ้าเหลืองกับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
หน่วยที่ 3 การประสานงานในร่างกายและการสืบพันธุ์ของมนุษย์และสัตว์
บทที่ 7 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
7.1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
7.2 การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
7.3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง
8.1 การรับรู้และการตอบสนอง
8.2 การตอบสนองของสิ่งมีชีวิตชั้นตํ่าและสัตว์มีกระดูกสันหลังชั้นตํ่าบางชนิด
8.3 เซลล์ประสาท
8.4 การทำ งานของเซลล์ประสาท
8.5 โครงสร้างของเซลล์ประสาท
8.6 การทำ งานของระบบประสาทสั่งการ
8.7 อวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
9.1 ต่อมไร้ท่อ
9.2 ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะที่สำ คัญ
9.3 การควบคุมการสร้างและหลั่งฮอร์โมน
9.4 ฟีโรโมน
บทที่ 10พฤติกรรมของสัตว์
10.1 กลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว์
10.2 ประเภทพฤติกรรมของสัตว์
10.3 ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมกับการตอบสนองของระบบประสาท
10.4 การสื่อสารระหว่างสัตว์
บทที่ 11การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
11.1 การสืบพันธุ์
11.2 การเจริญเติบโตของสัตว์
บทเรียนชีววิทยา ม.5 เทอม 1
หน่วยที่ 4 การดำรงชีวิตของพืช
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
12.1 โครงสร้างและหน้าที่ของราก
12.2 โครงสร้างภายในของลำ ต้นพืช
12.3 โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
12.4 การคายนํ้าของพืช
12.5 การลำ เลียงนํ้าของพืช
12.6 การลำ เลียงธาตุอาหารของพืช
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
13.1 การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
13.2 กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
13.3 โฟโตเรสไพเรชัน
13.4 กลไกการเพิ่มความเข้นข้นของ CO2 ในพืช C4
13.5 กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ของพืชซีเอเอ็ม (CAM)
13.6 ปัจจัยบางประการที่มีผลต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง
13.7 การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
บทที่ 14 การสืบพันธุ์ของพืชดอก
14.1 การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก
14.2 การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชดอกและการขยายพันธุ์พืช
14.3 การวัดการเจริญเติบโตของพืช
บทที่ 15 การตอบสนองของพืช
15.1 สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
15.2 การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
บทเรียนชีววิทยา ม.5 เทอม 2
หน่วยที่ 5 พันธุศาสตร์
บทที่ 16 การค้นพบกฏการถ่ายทอดทางพันธุกรรม
16.1 การศึกษาพันธุกรรมของเมนเดล
16.2 กฎแห่งการแยกตัว
16.3 กฎแห่งการรวมกลุ่มอย่างอิสระ
16.4 การทดสอบจีโนไทป์
16.5 ลักษณะทางพันธุกรรมที่นอกเหนือจากกฎของเมนเดล
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
17.1 การค้นพบสารพันธุกรรม
17.2 ยีนอยู่ที่ไหน
17.3 จีโนม
17.4 ส่วนประกอบทางเคมีของ DNA
17.5 โครงสร้างของ DNA
17.6 สมบัติของสารพันธุกรรม
17.7 มิวเทชัน
บทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพ
18.1 ความเป็นมาของพันธุวิศวกรรม
18.2 พันธุวิศวกรรมกับการประยุกต์ใช้ประโยชน์
18.3 พันธุศาสตร์กับการประยุกต์ใช้ประโยชน์ต่อมนุษย์
หน่วยที่ 6 วิวัฒนาการ
บทที่ 19 วิวัฒนาการ
19.1 หลักฐานที่บ่งบอกถึงวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
19.2 แนวความคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
19.3 พันธุศาสตร์ประชากร
19.4 ปัจจัยที่ทำ ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล
19.5 กำเนิดของสปีชีส์
19.6 วิวัฒนาการกับความหลากหลายทางชีวภาพ
บทเรียนชีววิทยา ม.6 เทอม 1
หน่วยที่ 7 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่ 20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
20.1 ความหลากลายทางชีวภาพ
20.2 การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ
20.3 การจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต
20.4 ชื่อของสิ่งมีชีวิต
20.5 การระบุชนิดของสิ่งมีชีวิต
20.6 กำเนิดของชีวิต
20.7 อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
20.8 อาณาจักรแบคทีเรีย
20.9 อาณาจักรโพรทิสตา
20.10 อาณาจักรพืช
20.11. ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรพืช
20.12 อาณาจักรฟังไจ
20.13 อาณาจักรสัตว์
20.14 วิวัฒนาการของมนุษย์
20.15 ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย
หน่วยที่ 8 นิเวศวิทยา
บทที่ 21 ระบบนิเวศ
21.1 ความหลากหลายของระบบนิเวศ
21.2 ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
21.3 การถ่ายทอดพลังงานและการหมุนเวียนวัฏจักรสารในระบบนิเวศ
21.4 การเปลี่ยนแปลงแทนที่ของระบบนิเวศ
บทที่ 22 ประชากร
22.1 ความหนาแน่นและการแพร่กระจายของประชากร
22.2 ขนาดของประชากร
22.3 แบบแผนการเจริญเติบโตของประชากร
22.4 แบบแผนการมีชีวิตอยู่รอดของประชากร
22.5 ประชากรมนุษย์
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
23.1 มนุษย์กับทรัพยากรธรรมชาติ
23.2 หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
**เห็นเนื้อหาแล้วอย่าพึ่งท้อกันก่อนนะจ้ะ ค่อนๆ อ่านไป เดี่ยวก็จบ 55 ถ้าพร้อมแล้วไปโหลดเอกสารกันได้เลย ที่ลิงก์ด้านล่างนี้เลยจ้า
โหลดสรุป : เอกสาร !!
ขอบคุณข้อมูลและเอกสาร : kruyaibio.wordpress.com , xn--m3cdl3aceykmg0gbv7c5u.blogspot.com